การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ข้าวโพดหวานแปรรูป จังหวัดกาญจนบุรี
โครงการออกแบบส่วนบุคคล ครีมข้าวโพด
Final Project : Corn Topping
1.สืบค้น
ข้าวโพดหวาน
ชนิดของข้าวโพดหวาน
ปัจจุบันประเทศไทย ส่งออกข้าวโพดหวานในรูปแบบต่างๆ สูงเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และฮังการี ยอดส่งออก
ข้าวโพดหวานของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างก้าวกระโดดมาโดยตลอด จากปริมาณการส่งออก 500 กว่าตัน มูลค่ารวม 10 กว่าล้านบาทในปีแรก
ได้เติบโตเป็นมากกว่า 109,774 ตัน มีมูลค่ารวมกว่า 3,200 ล้านบาท ในปี 2548 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2-3 ปีหลัง มูลค่าการส่งออกในแต่ละปี
เติบโตขึ้นอย่างมาก โดยปริมาณการส่งออกรวมในรูปแบบต่างๆ เพิ่มขึ้นจาก 77,432 ตัน ในปี 2546 เป็น 109,774 ตัน ในปี 2548 และมูลค่าการ
ส่งออกเพิ่มจาก 2,122 ล้านบาท เป็น 3,200 ล้านบาท โดยการส่งออกในรูปปรุงแต่ไม่แช่เย็นจนแข็งมีปริมาณการส่งออก 76,118 - 103,975 ตัน
และมีมูลค่า 2,078 - 3,032 ล้านบาท การส่งออกในรูปข้าวโพดหวานดิบ หรือทำให้สุกแช่แข็ง มีปริมาณ 831 - 5,799 ตัน คิดเป็นมูลค่า 44 – 169
ล้านบาท
อุตสาหกรรมข้าวโพดหวานยังมีแนวโน้มการเติบโตต่อไปในอนาคต เนื่องจากข้อได้เปรียบของประเทศไทยที่สำคัญ 2 ประการ เมื่อเทียบกับ
ผู้ผลิตและส่งออกรายใหญ่ คือสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ฮังการี และแคนาดา คือ ประเทศผู้ผลิตเหล่านั้น มีฤดูกาลสิ้นประมาณ 60 วัน ในช่วง 1 ปี
เนื่องจากข้าวโพดหวานเป็นพืชที่ต้องการแสงมาก ในประเทศเมืองหนาว จึงปลูกได้เฉพาะในช่วงฤดูร้อนเท่านั้น ส่วนข้อได้เปรียบที่สำคัญอีกประการ
คือ ค่าใช้จ่ายทางด้านขนส่งทางเรือ ต่ำกว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดในเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน ที่มีความต้องการนำเข้าสินค้าข้าวโพด
หวานเป็นปริมาณมาก ข้าวโพดหวานจึงเป็นพืชเศรษฐกิจพืชหนึ่ง ที่มีอนาคตในการผลิตและส่งออกมาก ข้าวโพดหวานที่เราปลูกกันและบริโภคใน
บ้านเราจะเห็นว่ามีลักษณะฝัก เปลือกหุ้มฝัก ความหวาน สีของเมล็ด และความอร่อย ที่แตกต่างตามลักษณะของพันธุ์ อันเนื่องจากลักษณะทาง
พันธุกรรมของแต่ละพันธุ์ของข้าวโพดหวาน
ชนิดของข้าวโพดหวาน
สามารถจำแนกตามหน่วยพันธุกรรม (gene) ที่ควบคุมได้ดังนี้
1. กลุ่มที่ควบคุมด้วยยืนชูการี่ (Sugary, su/su) ข้าวโพดหวานกลุ่มนี้มีปลูกในประเทศไทยมานาน มีความหวานเล็กน้อย มีน้ำตาลซูโครส
(sucrose) ประมาณ 10.2 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จะมีซูโครสประมาณ 3.5 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดมีสีเหลืองอ่อน มีเปลือกหุ้มเมล็ดค่อน
ข้างเหนียว เวลารับประทานมักติดฟัน เมล็ดแก่จะเหี่ยวย่น เนื่องจากมีแป้งในเมล็ดเพียง 28 เปอร์เซ็นต์ ทำให้เมล็ดเกิดการยุบตัวมาก พันธุ์ข้าวโพด
หวานที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ พันธุ์อีเหี่ยว
2. กลุ่มที่ควบคุมด้วยยีนชรังเค่น (shrunken, sh/sh หรือ sh2/sh2) ข้าวโพดหวานกลุ่มนี้มีความหวานสูงกว่าในกลุ่มแรก มีซูโครสประมาณ
30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้มและทิ้งไว้จนเย็นจะเหี่ยวเร็วกว่ากลุ่มแรก เมล็ดมีสีเหลืองส้ม เปลือกหุ้มเมล็ดเหนียวน้อยกว่ากลุ่มแรก เวลารับประทานมักจะ
ไม่ค่อยติดหรือมีติดอยู่บนซังเพียงเล็กน้อย เวลารับประทานมักจะไม่ค่อยติดหรือมีติดอยู่บนซังเพียงเล็กน้อย เมล็ดแก่จะยุบตัวมากกว่า เพราะมีแป้ง
เพียง 18 เปอร์เซ็นต์ พันธุ์ข้าวโพดหวานที่อยู่ในกลุ่มนี้ เช่น พันธุ์อินทรี 2, ชูการ์ 73, ไฮบริกซ์ 5 และไฮบริกซ์ 10 เป็นต้น
3. กลุ่มที่ควบคุมด้วยยีนบริทเทิล (brittle, bt / bt หรือ bt2 / bt2) ข้าวโพดหวานในกลุ่มนี้จะมีความหวานใกล้เคียงกับกลุ่มที่สอง เมล็ดมีสี
เหลืองนวล เปลือกหุ้มเมล็ดบาง เวลารับประทานกัดหลุดจากซังง่าย จึงไม่ติดฟัน และจะมีความหวานกรอบมากกว่ากลุ่มอื่นๆ พันธุ์ที่มียีนบริทเทิล
ควบคุมความหวาน เช่น พันธุ์เอทีเอส -2 หรือซูการ์ 74
4. กลุ่มที่มียีนเสริม ข้าวโพดหวานชนิดนี้จะมียีนที่เป็น homozygous recessive อยู่หนึ่งตำแหน่ง แต่อีกตำแหน่งหนึ่ง จะเป็น
heterozygous เมื่อนำเมล็ดไปปลูกเพื่อผลิตฝักสด ยีนที่เป็น heterozygous จะแยกตัวตามกฎของ Mendel มีผลทำให้ 25 เปอร์เซ็นต์ ของเมล็ดที่
เรารับประทานนั้นเป็น double recessive ทำให้ผู้รับประทานมีความรู้สึกว่าข้าวโพดนั้นหวานขึ้น ข้าวโพดหวานพวกนี้มียีน su เป็นพื้นฐานเพราะ
นักปรับปรุงพันธุ์ ต้องการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานนั้นให้หวานขึ้นโดยการนำยีน sh2 หรือ ซูการ์รีเอ็นฮานเซอร์ (sugary enhancer, se) มาช่วย
เสริมตัวอย่างข้าวโพดหวานชนิดนี้คือพันธุ์ Sugar Loaf, Honey Comb และ Sugar Time เป็นต้น ในประเทศไทยข้าวโพดข้าวเหนียวหวานขอนแก่น
อาจจะจัดอยู่ในประเภทนี้ได้ โดยมียีน sh2 เป็นพื้นฐาน และมียีน su หรือ wx เป็นตัวเสริม ได้มีผู้นำเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานประเภทนี้เข้ามาปลูก
เหมือนกัน สังเกตง่ายๆ คือ ฝักข้าวโพดหวานอาจจะมีเมล็ด 2 สี คือ สีเหลืองและสีขาว โดยจะอยู่ในอัตราส่วน 75 : 25 ซึ่งนักปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด
หวาน หรือวงการค้าเมล็ดข้าวโพดหวานจะเรียกว่า bi-color แต่ถ้าจะพิสูจน์ให้แน่ชัดว่าข้าวโพดหวานนั้น อาจเกิดจากยีนเสริมหรือไม่ก็จะต้องนำฝัก
ของข้าวโพดหวานที่สงสัยนั้นมาตากให้แห้ง แล้วดูว่าเมล็ดที่แห้งแล้วเหมือนกันทั้งฝักหรือไม่ ถ้าเมล็ดที่แห้งแล้วเหมือนกันทั้งฝักก็แสดงว่าเป็น
ข้าวโพดหวานชนิดยีนเดียว แต่ถ้าเมล็ดที่แห้งแล้วมีเมล็ดลีบมากๆ คล้ายข้าวโพดหวานพิเศษอยู่ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดลีบมากๆ นี้เป็น
double recessive ที่เหลืออีก 75 เปอร์เซ็นต์ เป็นเมล็ดข้าวโพดหวานธรรมดา ข้าวโพดหวานฝักนั้นก็เป็นข้าวโพดหวานที่เกิดจากยีนเสริม
5. กลุ่มที่เกิดจากยีนร่วม เนื่องด้วยข้าวโพดหวานธรรมดามีความหวานน้อย และปัญหาเรื่องอัตราความงอกต่ำในข้าวโพดหวานพิเศษ นัก
ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวาน จึงได้พยายาม นำยีนต่างๆ มาอยู่ร่วมกันในสภาพ homozygous recessive ที่ทุกๆ ตำแหน่ง (locus) เพื่อให้ได้ข้าวโพด
หวานที่มีคุณภาพดีขึ้น คือ ปริมาณน้ำตาลสูงขึ้น และแก้ปัญหาในเรื่องอัตราความงอกต่ำ อย่างไรก็ตาม พันธุ์ข้าวโพดที่นิยมปลูกในประเทศไทย
ส่วนใหญ่ จะเป็นพันธุ์ที่ควบคุมความหวานด้วยยีน 2 ชนิด คือ ยีน ชรังเค่นและยีนบริทเทิล ซึ่งพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดดังกล่าว มีอัตราส่วนทางการตลาด
ใกล้เคียงกัน
พันธุ์ข้าวโพดหวาน
1. พันธุ์ผสมเปิด ได้แก่ พันธุ์ฮาวายเอี้ยนชูการ์ ซูเปอร์สวีท เป็นพันธุ์ให้ผลผลิตต่ำกว่าพันธุ์ลูกผสม แต่ความสูงต้น ความสูงฝัก และอายุ
เก็บเกี่ยวใกล้เคียงกับพันธุ์ลูกผสม
2. พันธุ์ลูกผสม ปัจจุบันมีข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสมมากมายให้เกษตรกรเลือกใช้ ส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์ของบริษัทเอกชนต่างๆ และมี
บางพันธุ์เป็นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำหรับข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสมของกรมวิชาการเกษตรยังอยู่ในขั้นตอนท้ายๆ ของการปรับปรุงพันธุ์
ซึ่งคาดว่าจะออกเป็นพันธุ์รับรองหรือพันธุ์แนะนำได้ภายใน 2 - 3 ปี นี้ สำหรับลักษณะประจำพันธุ์ของข้าวโพดหวานพันธุ์ผสม เปิดและพันธุ์ลูกผสม
ที่นิยมปลูกในปัจจุบัน
ที่มาhttp://it.doa.go.th/pibai/pibai/n11/v_11-feb/korkui.html
ปล่อยสารต้านอนุมูลอิสระ หรือที่บางคนเรียกกันว่า แอนตี้ออกซิแดนท์มาหลายตัว และที่สำคัญตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า “กรดเฟอรูลิก”
(Ferulic acid ) ซึ่งเป็นสาระสำคัญที่เป็นตัวช่วยทำให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายมีประสิทธิภาพ กรดเฟอรูลิกเป็นสารต้านอนุมูล
อิสระจึงถูกใช้สำหรับต่อต้านการแก่ (aging) ของเซลล์ป้องกันการเกิดเซลล์มะเร็ง โรคหัวใจ ไข้หวัด รักษาสุขภาพของกล้ามเนื้อ
ต่อต้านผลกระทบจากรังสีอุลตร้าไวโอเลต (จึงป้องกันมะเร็งผิวหนังได้)
http://www.stou.ac.th/study/sumrit/5-52(500)/page2-5-52(500).html
-----
สารต้านอนุมูลอิสระ
อนุมูลอิสระเป็นโมเลกุลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย เนื่องจากเป็นอนุภาคไม่คงตัว จึงทำปฏิกิริยา
กับโมเลกุลที่อยู่ติดกันได้อย่างรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่าออกซิเดชัน (oxidation) ซึ่งอาจก่อผลกระทบที่อันตรายต่อร่างกายได้
ตัวการก่อโรคร้าย
เมื่ออนุมูลอิสระทำปฏิกิริยากับรหัสพันธุกรรมดีเอ็นเอในนิวเคลียสของเซลล์ อาจทำให้เซลล์ กลายพันธุ์และกลายเป็นเซลล์
มะเร็ง ถ้าเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด จะกระตุ้นให้เกิดไขมันสะสมในหลอดเลือด นำไปสู่โรคหัวใจ
และหลอดเลือดในสมองแตก/ตีบ นอกจากนี้ อนุมูลอิสระยังมีส่วนทำให้เกิดต้อกระจก ภูมิต้านทานต่ำ โรคข้ออักเสบ และแก่ก่อนวัย
บทบาทของสารต้านอนุมูลอิสระสารต้านอนุมูลอิสระทำลายฤทธิ์ของอนุมูลอิสระโดยป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันในส่วนต่างๆ ของร่างกาย นอกจากสารต้านอนุมูลอิสระที่ร่างกายสร้างเองแล้ว ในวิตามิน แร่ธาตุ และพฤกษเคมีก็มีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่ด้วย และช่วยต้านอนุมูลอิสระ
ได้ดี
http://antioxidants.spaces.live.com/blog/cns!27309FD5F0BC7A90!140.entry
แยม
Final Project : Corn Topping
1.สืบค้น
ข้าวโพดหวาน
ชนิดของข้าวโพดหวาน
ปัจจุบันประเทศไทย ส่งออกข้าวโพดหวานในรูปแบบต่างๆ สูงเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และฮังการี ยอดส่งออก
ข้าวโพดหวานของประเทศไทยมีการเติบโตอย่างก้าวกระโดดมาโดยตลอด จากปริมาณการส่งออก 500 กว่าตัน มูลค่ารวม 10 กว่าล้านบาทในปีแรก
ได้เติบโตเป็นมากกว่า 109,774 ตัน มีมูลค่ารวมกว่า 3,200 ล้านบาท ในปี 2548 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2-3 ปีหลัง มูลค่าการส่งออกในแต่ละปี
เติบโตขึ้นอย่างมาก โดยปริมาณการส่งออกรวมในรูปแบบต่างๆ เพิ่มขึ้นจาก 77,432 ตัน ในปี 2546 เป็น 109,774 ตัน ในปี 2548 และมูลค่าการ
ส่งออกเพิ่มจาก 2,122 ล้านบาท เป็น 3,200 ล้านบาท โดยการส่งออกในรูปปรุงแต่ไม่แช่เย็นจนแข็งมีปริมาณการส่งออก 76,118 - 103,975 ตัน
และมีมูลค่า 2,078 - 3,032 ล้านบาท การส่งออกในรูปข้าวโพดหวานดิบ หรือทำให้สุกแช่แข็ง มีปริมาณ 831 - 5,799 ตัน คิดเป็นมูลค่า 44 – 169
ล้านบาท
อุตสาหกรรมข้าวโพดหวานยังมีแนวโน้มการเติบโตต่อไปในอนาคต เนื่องจากข้อได้เปรียบของประเทศไทยที่สำคัญ 2 ประการ เมื่อเทียบกับ
ผู้ผลิตและส่งออกรายใหญ่ คือสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส ฮังการี และแคนาดา คือ ประเทศผู้ผลิตเหล่านั้น มีฤดูกาลสิ้นประมาณ 60 วัน ในช่วง 1 ปี
เนื่องจากข้าวโพดหวานเป็นพืชที่ต้องการแสงมาก ในประเทศเมืองหนาว จึงปลูกได้เฉพาะในช่วงฤดูร้อนเท่านั้น ส่วนข้อได้เปรียบที่สำคัญอีกประการ
คือ ค่าใช้จ่ายทางด้านขนส่งทางเรือ ต่ำกว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดในเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน ที่มีความต้องการนำเข้าสินค้าข้าวโพด
หวานเป็นปริมาณมาก ข้าวโพดหวานจึงเป็นพืชเศรษฐกิจพืชหนึ่ง ที่มีอนาคตในการผลิตและส่งออกมาก ข้าวโพดหวานที่เราปลูกกันและบริโภคใน
บ้านเราจะเห็นว่ามีลักษณะฝัก เปลือกหุ้มฝัก ความหวาน สีของเมล็ด และความอร่อย ที่แตกต่างตามลักษณะของพันธุ์ อันเนื่องจากลักษณะทาง
พันธุกรรมของแต่ละพันธุ์ของข้าวโพดหวาน
ชนิดของข้าวโพดหวาน
สามารถจำแนกตามหน่วยพันธุกรรม (gene) ที่ควบคุมได้ดังนี้
1. กลุ่มที่ควบคุมด้วยยืนชูการี่ (Sugary, su/su) ข้าวโพดหวานกลุ่มนี้มีปลูกในประเทศไทยมานาน มีความหวานเล็กน้อย มีน้ำตาลซูโครส
(sucrose) ประมาณ 10.2 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จะมีซูโครสประมาณ 3.5 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดมีสีเหลืองอ่อน มีเปลือกหุ้มเมล็ดค่อน
ข้างเหนียว เวลารับประทานมักติดฟัน เมล็ดแก่จะเหี่ยวย่น เนื่องจากมีแป้งในเมล็ดเพียง 28 เปอร์เซ็นต์ ทำให้เมล็ดเกิดการยุบตัวมาก พันธุ์ข้าวโพด
หวานที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ พันธุ์อีเหี่ยว
2. กลุ่มที่ควบคุมด้วยยีนชรังเค่น (shrunken, sh/sh หรือ sh2/sh2) ข้าวโพดหวานกลุ่มนี้มีความหวานสูงกว่าในกลุ่มแรก มีซูโครสประมาณ
30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อต้มและทิ้งไว้จนเย็นจะเหี่ยวเร็วกว่ากลุ่มแรก เมล็ดมีสีเหลืองส้ม เปลือกหุ้มเมล็ดเหนียวน้อยกว่ากลุ่มแรก เวลารับประทานมักจะ
ไม่ค่อยติดหรือมีติดอยู่บนซังเพียงเล็กน้อย เวลารับประทานมักจะไม่ค่อยติดหรือมีติดอยู่บนซังเพียงเล็กน้อย เมล็ดแก่จะยุบตัวมากกว่า เพราะมีแป้ง
เพียง 18 เปอร์เซ็นต์ พันธุ์ข้าวโพดหวานที่อยู่ในกลุ่มนี้ เช่น พันธุ์อินทรี 2, ชูการ์ 73, ไฮบริกซ์ 5 และไฮบริกซ์ 10 เป็นต้น
3. กลุ่มที่ควบคุมด้วยยีนบริทเทิล (brittle, bt / bt หรือ bt2 / bt2) ข้าวโพดหวานในกลุ่มนี้จะมีความหวานใกล้เคียงกับกลุ่มที่สอง เมล็ดมีสี
เหลืองนวล เปลือกหุ้มเมล็ดบาง เวลารับประทานกัดหลุดจากซังง่าย จึงไม่ติดฟัน และจะมีความหวานกรอบมากกว่ากลุ่มอื่นๆ พันธุ์ที่มียีนบริทเทิล
ควบคุมความหวาน เช่น พันธุ์เอทีเอส -2 หรือซูการ์ 74
4. กลุ่มที่มียีนเสริม ข้าวโพดหวานชนิดนี้จะมียีนที่เป็น homozygous recessive อยู่หนึ่งตำแหน่ง แต่อีกตำแหน่งหนึ่ง จะเป็น
heterozygous เมื่อนำเมล็ดไปปลูกเพื่อผลิตฝักสด ยีนที่เป็น heterozygous จะแยกตัวตามกฎของ Mendel มีผลทำให้ 25 เปอร์เซ็นต์ ของเมล็ดที่
เรารับประทานนั้นเป็น double recessive ทำให้ผู้รับประทานมีความรู้สึกว่าข้าวโพดนั้นหวานขึ้น ข้าวโพดหวานพวกนี้มียีน su เป็นพื้นฐานเพราะ
นักปรับปรุงพันธุ์ ต้องการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานนั้นให้หวานขึ้นโดยการนำยีน sh2 หรือ ซูการ์รีเอ็นฮานเซอร์ (sugary enhancer, se) มาช่วย
เสริมตัวอย่างข้าวโพดหวานชนิดนี้คือพันธุ์ Sugar Loaf, Honey Comb และ Sugar Time เป็นต้น ในประเทศไทยข้าวโพดข้าวเหนียวหวานขอนแก่น
อาจจะจัดอยู่ในประเภทนี้ได้ โดยมียีน sh2 เป็นพื้นฐาน และมียีน su หรือ wx เป็นตัวเสริม ได้มีผู้นำเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานประเภทนี้เข้ามาปลูก
เหมือนกัน สังเกตง่ายๆ คือ ฝักข้าวโพดหวานอาจจะมีเมล็ด 2 สี คือ สีเหลืองและสีขาว โดยจะอยู่ในอัตราส่วน 75 : 25 ซึ่งนักปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด
หวาน หรือวงการค้าเมล็ดข้าวโพดหวานจะเรียกว่า bi-color แต่ถ้าจะพิสูจน์ให้แน่ชัดว่าข้าวโพดหวานนั้น อาจเกิดจากยีนเสริมหรือไม่ก็จะต้องนำฝัก
ของข้าวโพดหวานที่สงสัยนั้นมาตากให้แห้ง แล้วดูว่าเมล็ดที่แห้งแล้วเหมือนกันทั้งฝักหรือไม่ ถ้าเมล็ดที่แห้งแล้วเหมือนกันทั้งฝักก็แสดงว่าเป็น
ข้าวโพดหวานชนิดยีนเดียว แต่ถ้าเมล็ดที่แห้งแล้วมีเมล็ดลีบมากๆ คล้ายข้าวโพดหวานพิเศษอยู่ประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ เมล็ดลีบมากๆ นี้เป็น
double recessive ที่เหลืออีก 75 เปอร์เซ็นต์ เป็นเมล็ดข้าวโพดหวานธรรมดา ข้าวโพดหวานฝักนั้นก็เป็นข้าวโพดหวานที่เกิดจากยีนเสริม
5. กลุ่มที่เกิดจากยีนร่วม เนื่องด้วยข้าวโพดหวานธรรมดามีความหวานน้อย และปัญหาเรื่องอัตราความงอกต่ำในข้าวโพดหวานพิเศษ นัก
ปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวาน จึงได้พยายาม นำยีนต่างๆ มาอยู่ร่วมกันในสภาพ homozygous recessive ที่ทุกๆ ตำแหน่ง (locus) เพื่อให้ได้ข้าวโพด
หวานที่มีคุณภาพดีขึ้น คือ ปริมาณน้ำตาลสูงขึ้น และแก้ปัญหาในเรื่องอัตราความงอกต่ำ อย่างไรก็ตาม พันธุ์ข้าวโพดที่นิยมปลูกในประเทศไทย
ส่วนใหญ่ จะเป็นพันธุ์ที่ควบคุมความหวานด้วยยีน 2 ชนิด คือ ยีน ชรังเค่นและยีนบริทเทิล ซึ่งพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดดังกล่าว มีอัตราส่วนทางการตลาด
ใกล้เคียงกัน
พันธุ์ข้าวโพดหวาน
1. พันธุ์ผสมเปิด ได้แก่ พันธุ์ฮาวายเอี้ยนชูการ์ ซูเปอร์สวีท เป็นพันธุ์ให้ผลผลิตต่ำกว่าพันธุ์ลูกผสม แต่ความสูงต้น ความสูงฝัก และอายุ
เก็บเกี่ยวใกล้เคียงกับพันธุ์ลูกผสม
2. พันธุ์ลูกผสม ปัจจุบันมีข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสมมากมายให้เกษตรกรเลือกใช้ ส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์ของบริษัทเอกชนต่างๆ และมี
บางพันธุ์เป็นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สำหรับข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสมของกรมวิชาการเกษตรยังอยู่ในขั้นตอนท้ายๆ ของการปรับปรุงพันธุ์
ซึ่งคาดว่าจะออกเป็นพันธุ์รับรองหรือพันธุ์แนะนำได้ภายใน 2 - 3 ปี นี้ สำหรับลักษณะประจำพันธุ์ของข้าวโพดหวานพันธุ์ผสม เปิดและพันธุ์ลูกผสม
ที่นิยมปลูกในปัจจุบัน
ที่มาhttp://it.doa.go.th/pibai/pibai/n11/v_11-feb/korkui.html
ที่มาhttp://slicedbreadmag.com/
การกินข้าวโพดหวานต้ม สามารถช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ และมะเร็งได้
การต้มทำให้ข้าวโพดหวานการกินข้าวโพดหวานต้ม สามารถช่วยลดความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ และมะเร็งได้
ปล่อยสารต้านอนุมูลอิสระ หรือที่บางคนเรียกกันว่า แอนตี้ออกซิแดนท์มาหลายตัว และที่สำคัญตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า “กรดเฟอรูลิก”
(Ferulic acid ) ซึ่งเป็นสาระสำคัญที่เป็นตัวช่วยทำให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายมีประสิทธิภาพ กรดเฟอรูลิกเป็นสารต้านอนุมูล
อิสระจึงถูกใช้สำหรับต่อต้านการแก่ (aging) ของเซลล์ป้องกันการเกิดเซลล์มะเร็ง โรคหัวใจ ไข้หวัด รักษาสุขภาพของกล้ามเนื้อ
ต่อต้านผลกระทบจากรังสีอุลตร้าไวโอเลต (จึงป้องกันมะเร็งผิวหนังได้)
http://www.stou.ac.th/study/sumrit/5-52(500)/page2-5-52(500).html
-----
สารต้านอนุมูลอิสระ
อนุมูลอิสระเป็นโมเลกุลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย เนื่องจากเป็นอนุภาคไม่คงตัว จึงทำปฏิกิริยา
กับโมเลกุลที่อยู่ติดกันได้อย่างรวดเร็ว เกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่าออกซิเดชัน (oxidation) ซึ่งอาจก่อผลกระทบที่อันตรายต่อร่างกายได้
ตัวการก่อโรคร้าย
เมื่ออนุมูลอิสระทำปฏิกิริยากับรหัสพันธุกรรมดีเอ็นเอในนิวเคลียสของเซลล์ อาจทำให้เซลล์ กลายพันธุ์และกลายเป็นเซลล์
มะเร็ง ถ้าเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับคอเลสเตอรอลในกระแสเลือด จะกระตุ้นให้เกิดไขมันสะสมในหลอดเลือด นำไปสู่โรคหัวใจ
และหลอดเลือดในสมองแตก/ตีบ นอกจากนี้ อนุมูลอิสระยังมีส่วนทำให้เกิดต้อกระจก ภูมิต้านทานต่ำ โรคข้ออักเสบ และแก่ก่อนวัย
บทบาทของสารต้านอนุมูลอิสระสารต้านอนุมูลอิสระทำลายฤทธิ์ของอนุมูลอิสระโดยป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันในส่วนต่างๆ ของร่างกาย นอกจากสารต้านอนุมูลอิสระที่ร่างกายสร้างเองแล้ว ในวิตามิน แร่ธาตุ และพฤกษเคมีก็มีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่ด้วย และช่วยต้านอนุมูลอิสระ
ได้ดี
http://antioxidants.spaces.live.com/blog/cns!27309FD5F0BC7A90!140.entry
แยม
เป็นของหวานประเภทหนึ่งรับประทานโดยการทาลงบนขนมปังเพื่อเพิ่มรสชาติให้ขนมปังอร่อยมากขึ้น แยมมักจะทำมาจากผลไม้ แต่ก็ไม่จริงเสมอไป
วิธีการผลิต
แยมเป็นอาหารหวานประเภทหนึ่งใช้ทานกับขนมปัง มีลักษณะคล้ายเยลลี่แต่ไม่จับตัวเป็นก้อน โดยมีวิธีการผลิตคือการนำของที่จะทำเป็นแยมมาต้มกับน้ำและน้ำตาล ด้วยอุณหภูมิราว 104°C เพื่อให้สารเคมีในตัวของผลไม้ทำปฏิกิริยากับน้ำตาล แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เย็นก็จะได้แยมตามที่ต้องการ
ประเภทของแยม
แยมแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
- แยมหวาน แยมชนิดนี้จะมีรสหวาน ตั้งแต่หวานมากจนกระทั่งหวานน้อย แต่แยมในชนิดนี้จะไม่นิยมทาขนมปังมากๆ เพราะมันจะหวานเลี่ยน
- แยมผลไม้ เป็นแยมที่ได้มาจากการต้มผลไม้ชนิดต่างๆกับน้ำตาล
- แยมสตอเบอรี่ - เป็นแยมที่ทำจากสตอเบอรี่ แยมชนิดนี้จะมีสีแดง
- แยมสัปปะรด - เป็นแยมที่ทำมาจากสับปะรด เป็นแยมที่มีสีเหลือง
- แยมส้ม - แยมส้ม มีสีส้ม
- แยมองุ่น - เป็นแยมที่ผสมกับองุ่น
- แยมรสผลไม้รวม - เป็นแยมที่ได้มาจากการผสมผลไม้ทุกชนิดเข้าด้วยกัน
- แยมสารสังเคราะห์ - แยมชนิดนี้ทำมาจากสารสังเคราะห์แต่ยังไม่แพร่หลายมากนัก
- แยมที่ไม่หวาน เป็นแยมที่ไม่มีรสหวาน
- แยมธัญพืช - เป็นแยมที่ทำมาจากธัญพืชหรือเม็ดพืชต่างๆ
ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A2%E0%B8%A1
เนย
ที่มาhttp://www.themaplecake.com/images/column_1257378120/dietribes-beyenbach-butter.jpg
เนย ( BUTTER )
เนย ได้จากการแยกไขมัน หรือมันเนยออกจากนม อาจเป็นนมวัว แพะ หรือนมแกะ แต่ ส่วน ใหญ่ใช้ นมวัว เนยที่ขายในท้องตลาดมี 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เนยจืด ( UNSALT BUTTER ) เป็นเนยที่ไม่ใส่ เกลือ กับเนย เค็ม ( SALT BUTTER) เป็นเนยที่ใส่เกลือ
มาการีน
มาการีน หรือเนยเทียม คือไขมันที่ทำเลียนแบบเนย โดยใช้ไขมันพืชหรือสัตว์แทนมันเนยโดยนำน้ำมัน พืชผ่านขบวนการเติมไฮโดรเจนจนได้จุดหลอมตัวและคุณสมบัติใกล้เคียงเนยที่สุด แล้วจึงละลายใส่ลงไปในหางนม เติม เกลือและสารกันบูด มาการีนจะมีสีเข้มกว่าเนย ราคาถูกกว่า
เนยขาว (SHORTENING )
เนยขาวเป็นน้ำมันที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจน เนยขาวเหมาะสำหรับทำ ขนมประเภทที่ใส่แป้งสาลี เช่น ขนมเค้ก คุกกี้ โดยเฉพาะขนมพาย จะช่วยให้ขนมนุ่ม หรือร่วนขึ้น โดยอาจผสมกับเนย อย่างละครึ่งเพื่อให้กลิ่นรสดีขึ้น
ที่มาhttp://www.horapa.com/content.php?Category=Tips&No=519
เนย ( BUTTER )
เนย ได้จากการแยกไขมัน หรือมันเนยออกจากนม อาจเป็นนมวัว แพะ หรือนมแกะ แต่ ส่วน ใหญ่ใช้ นมวัว เนยที่ขายในท้องตลาดมี 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เนยจืด ( UNSALT BUTTER ) เป็นเนยที่ไม่ใส่ เกลือ กับเนย เค็ม ( SALT BUTTER) เป็นเนยที่ใส่เกลือ
มาการีน
มาการีน หรือเนยเทียม คือไขมันที่ทำเลียนแบบเนย โดยใช้ไขมันพืชหรือสัตว์แทนมันเนยโดยนำน้ำมัน พืชผ่านขบวนการเติมไฮโดรเจนจนได้จุดหลอมตัวและคุณสมบัติใกล้เคียงเนยที่สุด แล้วจึงละลายใส่ลงไปในหางนม เติม เกลือและสารกันบูด มาการีนจะมีสีเข้มกว่าเนย ราคาถูกกว่า
เนยขาว (SHORTENING )
เนยขาวเป็นน้ำมันที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจน เนยขาวเหมาะสำหรับทำ ขนมประเภทที่ใส่แป้งสาลี เช่น ขนมเค้ก คุกกี้ โดยเฉพาะขนมพาย จะช่วยให้ขนมนุ่ม หรือร่วนขึ้น โดยอาจผสมกับเนย อย่างละครึ่งเพื่อให้กลิ่นรสดีขึ้น
ที่มาhttp://www.horapa.com/content.php?Category=Tips&No=519